วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

คำศัพท์ Network

     1.Microwave การส่งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอ (สถานี) ส่ง-รับสัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอหนึ่งแต่ละหอจะครอบคลุมพื้นที่ รับสัญญาณประมาณ 30 - 50 กม.

     2.Satellite ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3ของพื้นผิวโลก เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียมเรียกว่า (Transponder) ไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า "สัญญาณอัปลิงก์" และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า "สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์"

3.Point-to-Point คือ การรับ-ส่งสัญญาณข้อมูล ภาพ และวีดีโอภาพ ผู้ใช้สามารถรับ-ส่งสัญญาณถึงกันได้ด้วยความเร็วสูง ทั้งต้นทาง และปลายทาง ทั้งนี้ผู้ใช้บริการสามารถรับ-ส่ง สัญญาณข้อมูลระหว่างสาขาได้ โดยใช้สำนักงานใหญ่ เป็นสื่อกลางในการรับ-ส่งข้อมูลถึงกัน

4.Token Ring เป็นการต่อ LAN ในแบบ ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม โดยในรุ่นแรกๆ จะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็ น 16 Mbps สายที่ใช้จะเป็ นแบบพิเศษมี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU (Multiple Access Unit) ซึ่ง 1 ตัวต่อได 8 เครื่อง และพ่วงระหว่าง MAU แต่ละตัวเข้าด้วยกันได้อีก 
 
5.Remote Access เป็นความสามารถในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายจากระยะทางไกล ใช้ในกรณีที่ต้องการใช้งานเครือข่ายภายในองค์กร เมื่ออยู่นอกสถานที่โดยใช้งานผ่านโปรแกรมพวก VPN Client

6.Frame Relay เป็นบริการทางเครือข่ายชนิดหนึ่ง สำหรับเชื่อมต่อ LAN หรือเครือข่ายมากกว่า 2 เครือข่ายขึ้นไป ที่อยู่ห่างกัน โดยพัฒนามาจากเทคโนโลยี X.25 เป็นเครือข่ายระบบดิจิทัลที่มีอัตราความผิดพลาดของข้อมูลต่ำ มีระบบตรวจเช็คความถูกต้องของข้อมูลที่ปลายทาง ส่งข้อมูลได้เร็ว ประหยัดเวลา ลักษณะการส่งข้อมูลดีกว่า Leased Line เนื่องจากเป็นแบบ packet switching คือไม่มีการจองวงจรสื่อสารไว้ส่วนตัว ข้อมูลแต่ละคนจะถูกแบ่งเป็นชิ้นเล็กๆ เรียกว่า packet และส่งเข้าไปในเครือข่าย เพื่อส่งต่อไปยังปลายทาง ทำให้เครือข่ายเป็นเครือข่ายรวม ใช้เครือข่ายได้อย่างคุ้มค่า

7.OSI (Open Systems Interconnect) เป็นแบบจาลองที่อธิบายถึงโครงสร้างการทางานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์ที่มีหน้าที่ต่างๆ กัน โดยได้รับการคิดค้นและพัฒนาขึ้นในปี 1984 โดย Open Systems Interconnect นั่นเอง การเรียงตัวของเลเยอร์จะถูกจัดจากบนลงล่าง โดย
ประกอบไปด้วยเลเยอร์ Application, Presentation, Session, Transport, Network, Data Link และ Physical

8.Physical Layer เป็นเลเยอร์ล่างสุดสาหรับจัดเตรียมอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า และกลไกการทางานในการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย เป็นนิยามของความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างอุปกรณ์ฐานล่างและเลเยอร์ในระดับกลาง ตัวอย่างเช่น รูปแบบการจัดวางของพิน การเดินกระแสไฟ สายเคเบิ้ล ฮับ อแดปเตอร์เครือข่าย เป็นต้น

9.Data Link Layer เป็นเลเยอร์สาหรับการจัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครือข่าย และตรวจสอบความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นใน Physical Layer แรกเริ่มนั้นเลเยอร์นี้จะกล่าวถึงในระบบโทรศัพท์ ที่มีการสื่อสารจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหนึ่ง หรือจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอุปกรณ์รับสัญญาณ จากนั้นจึงพัฒนาต่อมาจนถึงในระบบแลน (LAN) ด้วย ซึ่งมีรูปแบบการสื่อสารที่ซับซ้อนกว่า สาหรับโปรโตคอลที่อยู่ในเลเยอร์นี้ก็คือ TCP (Transport Control Protocol) ที่ทาหน้าที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารกันได้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

10.Network Layer เป็นเลเยอร์ที่จัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางภายในเครือข่าย โดยการดาเนินการจะทาการรับข้อมูลที่ส่งออกจากต้นทาง และรวมข้อมูลหรือแยกส่วนข้อมูลมาเป็นแพ็กเกจ (Package) และเพิ่มข้อมูลตาแหน่งปลายทางที่ส่วนหัวของแพ็กเกจเพื่อใช้ในการส่ง

วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556

คำศัพท์ Network



คำศัพท์ Network 


1. ฮับ (Hub) 
เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครื่องจานวนมากเข้าด้วยกันในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยที่ฮับจะมีพอร์ต (Port) หรือช่องสาหรับต่อสาย RJ-45 เข้ามาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ และทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการกระจายข้อมูล ไปยังเครื่องอื่นๆ ในระบบเครือข่าย ความเร็วของฮับมีหน่วยเป็น Megabit per second (Mbps)

2. สวิตช์ (Switch) สวิตช์เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายลักษณะเดียวกับฮับและมีหน้าที่คล้ายกับฮับมาก แต่มีความแตกต่างที่วงจรการทางานภายในจะใช้หลักการของวงจรสวิตชิ่งที่สลับการส่งข้อมูลในแต่ละพอร์ตไปมา ไม่ได้แบ่งช่องทางการส่งผ่านข้อมูลเหมือนฮับจึงทาให้แต่ละพอร์ต (Port) มีความสามารถในการส่งข้อมูลได้สูง


3. รีพรีทเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อสายเคเบิล 2 เส้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มระยะทางการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย สายสัญญาญแต่ละชนิดที่เลือกใช้จะมีความสามารถในการขนส่งข้อมูลไปในระยะทางที่จากัดระยะหนึ่ง ตามมาตรฐานของสายสัญญาณแต่ละชนิด จากนั้นสัญญาณข้อมูลจะถูกดูดกลืนไปตามสายทาให้สัญญาณข้อมูลอ่อนลง หากต้องการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายออกไปไกลเกินกว่าสายสัญญาณที่ใช้จะรองรับได้จะต้องใช้รีพีตเตอร์ช่วยในการขยายสัญญาณข้อมูล


4. บริทต์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายอีเธอร์เน็ตกับอีเธอร์เน็ต (Ethernet)


5. เราท์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายซึ่งทาหน้าที่เสมือนสะพานสาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่น หรือระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) เข้ากับระบบเครือข่าย WAN (Wide Area Network) ขนาดใหญ่


6. เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายที่มีความซับซ้อนมากกว่าเราท์เตอร์หรือบริดจ์ เพราะอุปกรณ์ชนิดนี้สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลใน Data link และ Network Layer ที่แตกต่างกันได้มากกว่า 2 ระบบ การทางานของเกตเวย์ทุกระดับชั้นจะเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/OSI Model


7. File Server  คือ  เซิร์ฟเวอร์จะเป็นผู้จัดการระบบไฟล์บนดิสก์ในเครื่องของตนเอง


8. Wireless  หมายถึง เทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ ร่วมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณในการเชื่อมต่อ


9. Broadcast  คือสถานีบริการหนึ่งสามารถส่งกระจายข่าวสารมัลติมีเดียไปให้กับผู้ขอใช้บริการ (client) ได้ทุกเครื่องบนเครือข่ายในขณะเดียวกัน เช่นถ้า เชิร์ฟเวอร์เป็นสถานีบริการทีวี ก็จะกระจายไปยังผู้ชมที่อยู่บนเครือข่ายได้ทุกคน เป้าหมายที่สำคัญต่อมาคือ ต้องการให้ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์ได้ หรือโต้ตอบกลับได้ ถ้าเป็นเช่นนี้ ผู้ชมสามารถร่วมเล่นเกมโชว์จากทางบ้านได้ 
 
      
10. Bluetooth  ลักษณะของบลูทูธเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1998 ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูล 2.5 GHz. สื่อสารได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร สื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายๆ อุปกรณ์ได้

วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556

คำศัพท์ Network

คำศัพท์ Network

1.)  Band Width  หมายถึง ขีดความสามารถในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายเคเบิ้ล ไฟเบอร์ออพติกหรือสายลวดทองแดง คิดเป็นกี่บิต ( bits ) ต่อวินาทีแบนด์ วิธ (band width) 

2.)  Data  Highway  หมายถึง โครงสร้างเครือข่ายข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทางคอมพิวเตอร์และเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ได้ทั่วไปหมด   เปรียบเสมือนทางหลวงของข้อมูล   สามารถติดต่อหาข้อมูลข่าวสาร ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น


3.)  VPN  ย่อมาจาก  Vitrual  Private  Network  หมายถึง การเชื่อมต่อโดยใช้ช่องทางสื่อสารพิเศษที่จำลองขึ้นมาชั่วขณะ  ที่เรียกว่า  “Tunnel”  หรือ  “อุโมงค์”  ในการรับ – ส่งข้อมูล   แต่ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นในเครือข่ายสาธารณะอย่างอินเทอร์เน็ต   ซึ่งเป็นโซลูชั่น (Solution)  หนึ่งในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล


4.) Cyber shopping  หมายถึง การเลือกซื้อสินค้าชนิดต่างๆ  ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปที่ร้านค้า   และจ่ายเงินสด   แต่ผู้ซื้อสามารถจ่ายเงินดิจิตอล  (Digital  cash)  แทน


5.)  Hacker  หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พยายามหาทางเข้าไปในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการรักษาความปลอดภัย  ทั้งนี้อาจเพื่อแสดงว่ามีความสามารถสูง  หรือเพื่อความต้องการที่ผิดกฎหมาย


6.)  Computer Down หมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ทำงาน ณ ขณะนั้นเนื่องจากเสีย กำลังซ่อมบำรุง กำลังปรับปรุงระบบใหม่ หรือกำลังพัฒนา(w)โปรแกรมต่างๆ เป็นต้น

7.)  Host Computer หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้เชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์เน็ตโดยตรง เรียกว่า “คอมพิวเตอร์แม่ข่าย”


8.)  SCSI ย่อมาจาก Small Computer  System Interface หมายถึง การเชื่อมโยงแบบสมรรถนะสูงระหว่างอุปกรณ์กับข้อมูลความเร็วสูงกับบัสของเซิร์ฟเวอร์ (Server) สามารถใช้กับอุปกรณ์ภายนอก คล้าย EDIE แต่มีราคาสูงกว่า สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้พร้อมกันมากกว่า 15 ตัวความเร็วสูงและแม่นยำประสิทธิภาพโดยรวมสูงกว่า EIDE


9.)  ISP หรือ Internet Service Provider หมายถึง ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต โดยคิดค่าบริการจากเวลาในการใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อัตราค่าบริการขึ้นกับบริษัทของแต่ละประเทศ


10.) M-Commerce หมายถึง การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ไร้สาย หรืออุปกรณ์มือถือต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ เพจเจอร์ เครื่องโน้ตบุ๊ค ยกตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี WAP(Wireless Application Protocol) และบูลทูธ (Bluetooth)

วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การออกแบบระบบเครือข่ายแบบ packet-tracer

การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็ก IP Sharing



     IP Sharing เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแชร์อินเตอร์เน็ต นิยมใช้ในร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ หรือบริษัทขนาดเล็ก โดยส่วนมาก IP Sharing จะต้องเชื่อมต่อกับโมเด็มเพื่อหมุนออกอินเตอร์เน็ตอีกที่หนึ่ง


การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดกลางด้วย ADSL Router




     ในการเชื่อมต่อแบบนี้ส่วนมากแล้วโมเด็มที่ใช้จะเป็น ADSL Router แบบ Fix IP คือ หลังจากการเลือกใช้บริการ ผู้ให้บริการจะแบ่งหมายเลข IP จริง ออกมาส่วนหนึ่ง สามารถนำ IP Address มาตั้ง Server ได้

                                     การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดใหญ่



     เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อน แต่ละบริษัทจะมีการออกแบบที่ไม่เหมือนกันโดยทั่วไประบบเครือข่ายขนาดใหญ่จะมีการแบ่งกันอย่างชัดเจน ระหว่าง Server Farm และ ฝั่งลูกข่าย (Client)




วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

คำศัพท์ Network

คำศัพท์ NETWORK


1. Twisted Pairs
สายสัญญาณมาตรฐานที่นิยมใช้ มากที่ สุดในระบบเครือข่ายปัจจุบัน สายสัญญาณจะประกอบด้วยสายทองแดงที่ห่อหุ้มด้วยฉนวน 2 เส้นแล้วบิดเป็นเกลียวเหตุที่บิดเป็นเกลียวก็เพื่อลดสัญญาณรบกวนนั่นเอง

2. Fiber Optic สายที่ใช้แสงเป็นสัญญาณ และแก้วหรือพลาสติกใสเป็นสื่อนำสัญญาณ ในขณะที่สายคู่เกลียวบิดและสายโคแอ็กเชียลใช้ สัญญาณไฟฟ้าและโลหะเป็นสื่อ

3. Repeater อุปกรณ์ระบบเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อสายเคเบิล 2 เส้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มระยะทางการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย

4. Gateway อุปกรณ์ระบบเครือข่ายที่มีความซับซ้อนมากกว่าเราท์เตอร์หรือบริดจ์ เพราะอุปกรณ์ชนิดนี้สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลใน Data link และ Network Layer ที่แตกต่างกันได้มากกว่า 2 ระบบ

5. Extranet เอ็กซ์ทราเน็ตเป็นระบบเครือข่าย สำหรับผู้ใช้ภายนอกระบบ (เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์ ผู้ขายอิสระ และตัวแทนจำหน่าย เป็นต้น) ให้สามารถ เข้ามาสืบค้นข้อมูล ของบริษัทเช่น ราคาสินค้า รายการสินค้าคงคลัง กำหนดการส่งของ เป็นต้น

6. Fast Ethernet เป็นระบบเครือข่ายอีกแบบ ที่ใช้วิธีการส่งข้อมูล แบบเดียวกับ ระบบอีเธอร์เน็ต (มีการตรวจจับ การชนกันของข้อมูล) แต่จะทำงานที่ ความเร็วสูงกว่าถึง 10 เท่าคือ 100 ล้านบิตต่อวินาที ระบบนี้ช่วยให้ สามารถปรับปรุง ระบบอีเธอร์เน็ตเดิม ที่มีการใช้งานหนาแน่น ให้มีประสิทธิภาพ การทำงานที่สูงขึ้น ได้อย่างราบรื่น เพราะใช้ระบบเคเบิล ระบบการใช้งาน และระบบการจัดการ เครือข่ายแบบเดียวกัน ระบบ Fast Ethernet นี้มีอยู่หลายแบบเช่น 100BASE-FX, 100BASE-T4 และ 100BASE-TX

7. FDDI เป็นคำย่อมาจาก Fiber Distributed Data Interface หรือระบบต่อเชื่อม กระจายข้อมูล ด้วยใยแก้วนำแสง เป็นเทคโนโลยี ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ที่นำพื้นฐาน ของเครือข่าย แบบส่งผ่านโทเค็น มาใช้บน สายเคเบิลใยแก้วนำแสง โดยทั่วไป จะใช้สำหรับระบบเครือข่ายหลัก ขององค์กรขนาดใหญ่
Frame Relayเป็นบริการของ เครือข่ายพื้นที่กว้าง (WAN) ที่เป็นการเชื่อมต่อ แบบปิด-เปิด (on-and-off) ระหว่างสถานที่ ที่อยู่ห่างกัน เป็นระยะทางไกล

8. FTP ย่อมาจาก File Transfer Protocol หรือโปรโตคอล ส่งผ่านไฟล์ เป็นส่วนหนึ่งของ กลุ่มโปรโตคอล อินเทอร์เนตหลัก (TCP/IP) ใช้สำหรับส่งไฟล์ จากเครื่องผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ ของคุณ

9. GATEWAY คอมพิวเตอร์ตัวกลางในการเคลื่อนย้ายข้อมูลจากเครือข่ายหนึ่ง ไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง
10. Gigabit Ethernet กิกะบิตอีเธอร์เน็ต เป็นระบบอีเธอร์เน็ต รุ่นล่าสุด ที่สามารถทำกา รส่งข้อมูล ที่
ความเร็วถึง 1000 เมกะบิต (1 กิกะบิตต่อวินาที) ซึ่งเร็วกว่า อีเธอร์เน็ต แบบดั้งเดิม ถึง 100 เท่า แต่ยังสามารถ ทำงานร่วมกับ ระบบอีเธอร์เน็ตเดิม ที่มีอยู่ได้ ทั้งนี้เนื่องจาก ยังใช้โปรโตคอล CSMA/CD และ Media Access Control (MAC) ที่เหมือนกัน ระบบกิกะบิตอีเธอร์เน็ตนี้ เป็นคู่แข่งโดยตรง กับ ระบบ ATM และทำให้ หมดยุคของระบบ FDDI และ Token Ring ไปโดยปริยาย

วันอังคารที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2556

คำศัพท์ Network


คำศัพท์ Network




1. DSL (Digital Subscriber Line) 
อุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงอย่างหนึ่ง ผ่านทางสายโทรศัพท์ แต่เรายังคงใช้โทรศัพท์พร้อมกันได้ด้วย มีอีกชื่อหนึ่งที่ใช้เรียกกันคือADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)


2. Backbone 
เส้นทางหลักของระบบเครือข่าย เปรียบได้กับ กระดูกสันหลัง ของเครือข่ายสื่อสาร เป็นส่วนสำคัญ ของเครือข่าย ที่ทำหน้าที่เป็น เส้นทางหลัก ในการส่งข้อมูล ระหว่างเครือข่าย มากกว่า ที่จะใช้ส่งข้อมูล กันภายใน

3. Client  
 ไคลเอ็นท์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) ที่ต่ออยู่กับ เครือข่าย ที่สามารถใช้ “บริการ” ร่วมกันกับ เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นได้ บริการเหล่านี้ จะถูกจัดเก็บ และบริหาร โดยเครื่องเซิร์ฟเวอร์

4. COMPOSE
 การแต่ง หรือเขียนจดหมาย Email

5.EISA 
การเชื่อมต่อหรือ อินเตอร์เฟส แบบมาตรฐานของการ์ดต่าง ๆ ปัจจุบันล้าสมัยแล้ว

6. DNS 
Domain Name Server การแปลงชื่อโฮตของเครือข่ายไปเป็นแอดเดรศ บนระบบเครือข่าย TCP/IP หรือใน internet

7. Domain Name Server
เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งโปรแกรม สำหรับทำหน้าที่จัดการ ชื่อต่างๆ ของ Server ทำให้สามารถเรียกใช้งาน ได้สะดวกรวดเร็วขึ้น

8. Proxy Server
เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ ติดตั้งโปรแกรม Proxy ไว้สำหรับเก็บบันทึกการเรียกใช้บริการ www ทำให้สามารถเรียกใช้บริการจาก อินเตอร์เนตได้รวดเร็วขึ้นเนื่องจากว่า ได้เรียกใช้ภายในระบบเดียวกัน ซึ่งมีความเร็วสูงกว่าการเรียกใช้งานผ่านอินเตอร์เนตโดยตรง ช่วยลดปัญหาการสื่อสารผ่านอินเตอร์เนตลงได้ ทำให้ความเร็วในการเรียกใช้บริการอินเตอร์เนตสูงขั้น และ ยังสามารถกำหนดสิทธิของ ผู้ใช้ง่นภายในเครือข่ายได้ เช่น จำกัดสิทธิในการใช้บริการ บางเว็ปไซท์ หรือ จะต้องมีรหัส จึงจะสามารถใช้งานได้

9. Dynamic IP Address
บริการจัดทำให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต ให้สามารถให้บริการ อินเตอร์เนต ข้อมูลบนอินเตอร์เนต ได้ โดยที่ผู้ใช้ งาน สามารถเรียกใช้บริการได้จากชื่อ โดเมนเนม ที่จดทะเบียนไว้ หากไม่ใช้ บริการ Dynamic IP Address ทุกทั้ง ที่ทำการเชื่อมต่อ เข้าสู่ อินเตอร์เนต ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) จะกำหนด IP Address มาให้ใหม่ ทุกครั้ง และ เราจะต้องติดต่อกับเครื่องของเรา โดยใช้ IP Address หาก IP Address เปลี่ยนไป ก็ต้องกำหนดการติดต่อ ใหม่ เรื่อยไป

10. Web Hosting
คือบริการให้เช่าพื้นที่เก็บข้อมูล บนเครื่อง ที่ให้บริการ บนอินเตอร์เนต สามารถเรียกใช้งานได้ ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน โดยอัตราค่าบริการจะขึ้นอยู่กับ ประสิทธิภาพของเครื่องให้บริการ ( Web Server) ความเร็วในการถ่ายเทข้อมูล ปริมาณการเรียกใช้ข้อมูล ( Data Transfer) พื้นที่เก็บข้อมูล (Disk Space ) จำนวน E-Mail Account และ บริการเสริม อื่นๆ

วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การออกแบบระบบเครือข่าย

การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็ก IP Sharing



     IP Sharing เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแชร์อินเตอร์เน็ต นิยมใช้ในร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ หรือบริษัทขนาดเล็ก โดยส่วนมาก IP Sharing จะต้องเชื่อมต่อกับโมเด็มเพื่อหมุนออกอินเตอร์เน็ตอีกที่หนึ่ง


การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดกลางด้วย ADSL Router



     ในการเชื่อมต่อแบบนี้ ส่วนมากโมเด็มที่ใช้จะเป็น DSL Router แบบ Fix IP กล่าวคือ หลังจากเลือกใช้บริการ ทางฝั่งผู้ให้บริการจะแบ่งหมายเลข IP Address (IP จริง) ให้มาส่วนหนึ่ง โดยเราสามารถนำ IP Address เหล่านี้มาตั้งเซิร์ฟเวอร์ได้ โดยหากคิดจะติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ลแะใช้งานผ่านสื่อ ADSL คุณคุณต้องทำงานหนักอีกด้าน คือ การติดตัง Firewall



การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายขนาดใหญ่โดยใช้เร้าเตอร์



ป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อน แต่ละบริษัทจะมีการออกแบบที่ไม่เหมือนกันโดยทั่วไประบบเครือข่ายขนาดใหญ่จะ มีการแบ่งกันอย่างชัดเจน ระหว่างห้องเซิร์ฟเวอร์ (Server Farm) และฝั่งลูกข่าย (Client)  ระบบขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่จะมีสาขาย่อยตามต่างจังหวัด เชื่อมต่อมายังหน่วยงานกลาง ผ่านทางRouter